Chipset คือ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอกนิกส์สำหรับควบคุมการทำงานต่างๆ ของเมนบอร์ดคะ ซึ่ง Chipset มีความสำคัญมากสำหรับคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนเป็นผู้จัดการของซีพียูและเป็นหัวใจของเมนบอร์ด กล่าวคือ chipset จะทำหน้าที่ทั้งควบคุมการทำงาน กลวิธีในการเชื่อมต่อ การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก หรือ อุปกรณ์รับเข้า-ส่งออก (input/output device) หรือ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ นอกจากนี้ งานทุกอย่างที่ซีพียูไม่ได้ทำ ชิปเซ็ตจะเป็นผู้ทำ เช่น การควบคุมและเป็นทางผ่านของข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การส่งข้อมูลจากหน่วยความจำหลักไปยังซีพียู การส่งผ่านข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ จากไดรฟ์ซีดีรอม รวมถึงการส่งข้อมูลของแผงวงจร (Card) ต่าง ๆ เช่น VGA Card, AGP Card, Sound Card ฯลฯ
วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
Chipset
Chipset
Chipset คือ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอกนิกส์สำหรับควบคุมการทำงานต่างๆ ของเมนบอร์ดคะ ซึ่ง Chipset มีความสำคัญมากสำหรับคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนเป็นผู้จัดการของซีพียูและเป็นหัวใจของเมนบอร์ด กล่าวคือ chipset จะทำหน้าที่ทั้งควบคุมการทำงาน กลวิธีในการเชื่อมต่อ การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก หรือ อุปกรณ์รับเข้า-ส่งออก (input/output device) หรือ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ นอกจากนี้ งานทุกอย่างที่ซีพียูไม่ได้ทำ ชิปเซ็ตจะเป็นผู้ทำ เช่น การควบคุมและเป็นทางผ่านของข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การส่งข้อมูลจากหน่วยความจำหลักไปยังซีพียู การส่งผ่านข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ จากไดรฟ์ซีดีรอม รวมถึงการส่งข้อมูลของแผงวงจร (Card) ต่าง ๆ เช่น VGA Card, AGP Card, Sound Card ฯลฯ
Chipset คือ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอกนิกส์สำหรับควบคุมการทำงานต่างๆ ของเมนบอร์ดคะ ซึ่ง Chipset มีความสำคัญมากสำหรับคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนเป็นผู้จัดการของซีพียูและเป็นหัวใจของเมนบอร์ด กล่าวคือ chipset จะทำหน้าที่ทั้งควบคุมการทำงาน กลวิธีในการเชื่อมต่อ การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก หรือ อุปกรณ์รับเข้า-ส่งออก (input/output device) หรือ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ นอกจากนี้ งานทุกอย่างที่ซีพียูไม่ได้ทำ ชิปเซ็ตจะเป็นผู้ทำ เช่น การควบคุมและเป็นทางผ่านของข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การส่งข้อมูลจากหน่วยความจำหลักไปยังซีพียู การส่งผ่านข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ จากไดรฟ์ซีดีรอม รวมถึงการส่งข้อมูลของแผงวงจร (Card) ต่าง ๆ เช่น VGA Card, AGP Card, Sound Card ฯลฯ
วันจันทร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
RAM
แรม (RAM: Random Access Memory )
แรม เป็นหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม หรือหน่วยความจำชั่วคราว เป็นหน่วยความจำหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจำชนิดนี้ อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจำกัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทำตามลำดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกำจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว
ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กำลังทำงาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจำชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
CPU
ซีพียู (CPU)
ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจากข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ
1) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคำนวณตรรกะ ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำงานเกี่ยวกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้
2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย ซีพียูที่มีจำหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon
Mainboard Computer
Mainboard
Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก ๆ ของเมนบอร์ดก็คือเป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่าง CPU และ อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น Ram ,VGA card ,soundcard ดังนั้นเมนบอร์ดที่ดีจึงควรมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลที่เร็ว ยิ่งเมนบอร์ดเร็วมากก็จะส่งผลให้การทำงานของคอมพิวเตอร์เร็วขึ้นตามไปด้วย
ชนิดของเมนบอร์ด
เมนบอร์ดจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ แบบ AT และ ATX มีข้อแตกต่างกันตรงที่เมนบอร์ดแบบ AT จะไม่มีพอร์ตต่าง ๆ ต้องต่อสายแพให้ระโยงรยางค์ส่งผลให้เวลาติดตั้งเมนบอร์ดแล้วทำให้การระบายอากาศใน Case ทำได้ไม่ดี เป็นเมนบอร์ดยุคกลางปัจจุบันนี้ไม่ใช้กันแล้ว ใช้กับ CPU ในรุ่น 80386-pentium classic )
-เมนบอร์ด แบบ ATX เป็นเมนบอร์ดที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เพราะได้รวมเอาพอร์ตต่าง ๆ ไว้ในตัวทำให้ในเครื่องไม่มีสายแพมากนักจึงทำให้การระบายอากาศของตัวคอมพิวเตอร์ดีกว่าบอร์ดแบบ AT
-เมนบอร์ด บอร์ดแบบ AT จะมีช่องเสียบกับ power supply แบบหัวเดียว 20เข็มทำให้เวลาติดตั้งไม่ต้องกังวลว่าจะเสียบหัวไฟเลี้ยงผิดแบบเมนบอร์ดแบบ AT
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)